Eat More | Live Well Lifestyle ความจำเสื่อม “กับเรื่องที่ควรอ่าน”  

ความจำเสื่อม “กับเรื่องที่ควรอ่าน”  


ความจำเสื่อม

ความจำเสื่อมนั้นเป็นอีกหนึ่งในโรคยอดฮิตของผู้สูงอายุเลยก็ว่าได้  และ ที่สำคัญนั้น โรคความจำเสื่อมนั้นหลายคนนั้นกลังบมองข้ามเพราะคิดว่าเป็นอาการหลงลืมชั่วขณะของผู้สูงอายุก็ว่าได้ แต่ว่าความจำเสื่อม นั้นเป็นอีกหนึ่งในโรคยอดฮิตเลยก็ว่าได้ เพราะว่ายิ่งสูงอายุมากขึ้นร่างกายนั้นเริ่มที่จะหมดสภาพ และ อาการหลง ๆ ลืม ๆ นั้นเป็นอีกหนึ่งอาการที่เข้ามาและ หลายคนนั้นคิดว่าเป็นอาการปกติด้วยเช่นกัน แต่ว่าเรื่องของความตำเสื่อมนั้นไม่ใช่เรื่องที่ควรมองข้าม และ ควรที่จะทำความเข้าใจไว้ก่อนด้วยเช่นกัน เพราะว่าไม่อย่างนั้นอาจจะทำให้กลายเป็นโรคความจำเสื่อมระยะยาวเลยก็ว่าได้   

สาเหตุที่ทำเกิดภาวะความจำเสื่อม  

  • โรคความจำเสื่อม : เป็นโรคที่พบได้ง่ายอย่างมาก และ พบได้บ่อยสุดอย่างมาก โดยจะเกิดจากโคที่เกิดจาก เซลล์สมองบางส่วนที่ตายไป มีผลกระทบทำให้ เกิดภาวะสูบเสียความทรงจำและการเรียนรู้ เมื่อเวลายิ่งผ่านไปนานเท่าไหร่ก็จะยิ่งถดถอยลงไปเรื่อย ๆ  
  • โรคหลอดเหลือดในสมอง : เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่เกิดขึ้นนั้นก็เพราะว่ามีการตีบตันของหลอดเหลือดทำให้สมองนั้นได้รับเลือดในการเลี้ยงที่ไม่เพียงพอ  ทำให้ความสามารถของสมองนั้นลดลง และยังมาพร้อมกับอาการของแข้งขาอ่อนแรง 
  • สาเหตุอื่น ๆ  : นอกจากสาเหตุที่กล่าวมานั้นยังมีสาเหตุอื่น ๆ อีกเช่น  
  •  การติดเชื้อในกระแสลเอด  
  • ต่อมไทรรอยด์ทำงานผิดปกติ  
  • ขาดวิตามินบี 12  
  • โรคโพรงน้ำในสมองโต  
  • เนื้องอกในสมอง  

ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะความจำเสื่อม  

ในการเกิดภาวะความจำเสื่อมนั้นมีหลากหลายสาเหตุ และ หลากหลายปัจจัยอย่างมากที่จะทำให้เกิดภาวะความจำเสื่อม เช่น  

  • อายุที่มากขึ้นจะพบอัตราการที่พบสมองเสื่อมได้มากขึ้นอย่างมาก  
  • พันธุกรรม หากมีคนในครอบครัวที่มีภาวะสมองความจำเสื่อม ก็มีโอกาสเสี่ยงที่มากกกว่าคนที่ไม่มีพันธูกรรมจากคนในครอบครัว  
  • โรคประจำตัวต่าง ๆ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวานไขมันในเลือดสูง โรคตับ ไต เรื้อรับง  
  • การขาดสารอาหาร เช่นวิตามินบี 12 

อาการที่เกิดสมองเสื่อม  

อาการสมองเสื่อมนั้นจะแสดงอาการที่หลากหลายอย่างมาก ซึ่งจะมีความคล้ายกับอาการหลง ๆ  ลืม ๆ นั้นจึงทำให้มีความสับสนในการดูแลด้วยเช่นกัน  

  • ความจำบกพร่อง และ ความสามารถในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ นั้นลดลงอย่างเช่น การจดจำเหตุการณ์ในระยะสั้น ๆ ไม่ได้  และ ถ้าหากว่าเป็นมาก ๆ จะไม่สามารถจำบุคลใกล้ชิดด้วยไม่ได้  
  • การใช้ภาษาบกพร่อง เช่น นึกคำพูดไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่ออก  
  • ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง เช่น การรับประทานอาหาร การขับถ่าย ไม่สามารถทำได้เหมือนปกติ 
  • อารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ง่าย มีภาวะเปลี่ยนทางอารมณ์ที่สูง เช่น เดี๋ยวก็อารมณ์ดี เดี๋ยวก็อารมณ์ร้าย 
  • นอนไม่หลัยประสาทหลอน  

ควรทำความเข้าใจ  

อีกเรื่องนั้นคือ การทำความเข้าใจ เพราะว่าการดูแลผู้ผู้ป่วยนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากเพราะว่า อาการความจำเสื่อม นั้นจะทำให้ผู้ป่วยนั้นค่อนข้างเอาแต่ใจอย่างมาก และที่สำคัญผู้ป่วยนั้นค่อนข้างจะพยายามเอาชนะดังนั้นการไม่เถียงนั้นเป็นเรื่องที่ดีอย่างมาก และทำให้ไม่เสียสุขภาพจิตทั้ง 2 ฝ่ายด้วยเช่นกัน 

ดังนั้นเรื่องของผู้ป่วยความจำเสื่อมนั้นเราควรแยกแยะก่อนว่าไม่ใช่ผู้ป่วยที่มีอาการขี้ลงขี้ลืมแบปกตินะครับ เพราะว่าหากปล่อยไว้ระยะยาวนั้นจะส่งผลเสียมากกว่าผลดีอย่างมาก